วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

แบบฝึกหัดบทที่ 9

บทที่9
1.ข้อใดเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
ง.ถูกทุกข้อ

2.ข้อใดไม่ใช้ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ
ค.ตัดสินใจแทนมนุษย์ได้

3.ข้อใดเป็นระบบสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลในงนประจำ
ข.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

4.ข้อใดไม่ใช่โปรแกรมสำหรับระบบสำนักงานอัตโนมัติ
ข.โปรแกรมทะเบียนผู้ป่วย

5.ระบบที่เกิดจากการนำสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในระบบการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงมาประมวลผลคือ
ง.ถูกทุกข้อ ข.และ ค.

6.ระบบสารสนเทศแบบใดที่อาจมีการสร้างแบบจำลองแบบต่างๆแล้งเลือกแบบที่ดีที่สุด
ง.ระบบผู้เชี่ยวชาญ

7.ระบบใดที่มีการสร้างซอฟต์แวร์ให้คอมพิวเตอร์ทำงานคล้ายกับเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ค.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

8.ระบบสารสนเทศแบบใดที่มีการสร้างฐานความรู้ขึ้น เพื่อใช้งานในระบบ
ค.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

9.การวินิจฉัยโรคบางโรคหากขาดแคลนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จะสามารถสร้างระบบใดมาช่วยงานได้
ข.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

10.ระบบสารสนเทศแบบใดที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์กร
ง.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

แบบฝึกหัดบทที่ 8

บทที่8
1.ขั้นตอนการเตรียมการในการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการลำดับความคิดในการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้กับงานใดงานหนึ่ง เรียกว่า
ข.วิธีการทางคอมพิวเตอร์

2.ขั้นตอนการตีความกับโจทย์ปัญหา เรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ก.การวิเคาระห์งาน

3.ข้อใดไม่ใช้งานที่ต้องทำในการวิเคราะห์งาน
ข.การทำหนดวิธีประมวลผล

4.สิ่งที่โจทย์ต้องการ คือ
ค.ถูกทั้งข้อก.และข.

5.ข้อมูลนำเข้า คือ
ก.อายุเฉลี่ยของนักเรียน

6.จากโจทย์ข้างต้น จำเป็นต้องตั้งตัวแปรแทนค่าใด
ข.ผลรวมอายุนักเรียน

7.การกำหนดตัวแปรในการวิเคราะห์งาน ควรกำหนดให้แทนค่าใด
ก.ข้อมูลนำเข้า

8.ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งานเป็นการเขียนแสดงลำดับขั้นตอนการประมวลผล
ค.การกำหนดวิธีการประมวลผล

9.ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งาน เป็ยขั้นตอนเพื่อกำหนดตัวแปรต่างๆ
ค.การกำหนดตัวแปร

10.ในการวิเคราะห์งาน หากโจทย์ไม่ได้กำหนดรูปแบบผลลัพธ์มาให้ ควรทำอย่างไรในขั้นตอนการกำหนดรูปแบบผลลัพธ์
ง.ถูกทั้งข้อข.และค.

11.การเขียนสัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ
ข.การเขียนผังงาน

12.สัญลักษณ์ใดหมายถึงการประมวลผล
ง.
13.สัญลักษณ์ใดหมายถึงการตัดสินใจ
ข.
14.สัญลักษณ์ใดหมายถึงกระดาษพิมพ์
ง.
15. .สัญลักษณ์ใดหมายถึงจุดเชื่อมต่อการทำงาน
ค.
16.จากผังงานข้างต้น ค่าXสุดท้าย มีค่าเท่าใด
ค.5


17.จากผังงานข้างต้น ค่าRESULTที่แสดงมีค่าเป็นเท่าใด
ก.720
18.วงจรการทำงานในผังงานข้างต้น มีการทำงานทั้งหมดกี่รอบ
ง.6รอบ

19.จากผังงานข้างต้นการแสดงค่าXและRESULTเป็นการแสดงผลทางใด
ก.จอภาพ

20.จากผังงานข้างต้นค่าRESULTที่แสดงผลเกิดจากการทำงานในข้อใด
ง.C

21.วิธีการทางคอมพิวเตอร์ ข้อใดเป็นขั้นตอนต่อจากการเขียนผังงาน
ค.การเขียนโปรแกรม

22.ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนไมโครคอมพิวเตอร์ภาษาใด เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์
ง.C

23.การเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมควรพิจารณาจาก
ง.ถูกทุกข้อ

24.เพื่อลดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม จึงควรเขียนโปรแกรมโดย
ง.ใช้วิธีใดก็ได้ทั้งข้อ ก,ข.และค.

25.การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่ทำขึ้น อยู่ในชั้นตอนใด
ง.ถูกทั้งข้อ ข.และค.

26.การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม อาจพบความผิดพลาดในลักษณธใด
ก.ความผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษา

27.ความผิดพลาดในการเขียนรูปแบบคำสั่งเรียกว่า
ข.ความผิดพลาดทางตรรกะ

28.ความผิดพลาดในการทำงานของโปรแกรม เรียกว่า
ง.ถูกทั้งข้อก.และข.

29.ข้อใดเป็นเอกสารประกอบการใช้งานโปรแกรม
ก.เอกสารคู่มือระบบ

30.เอกสารใดที่อธิบายรายละเอียดของโปรแกรม
ง.ถูกทั้งข้อก.และข.

แบบฝึกหัดบทที่ 7

บทที่7
1.รายละเอียดข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติของเอนทิตี คือ
ก.Attribute

2.บริษัทแห่งหนึ่งกำหนดกฏเกณฑ์ไว้ว่า พนักงาน 1 คน จะติต่อลูกค้าได้หลายคน แต่ลูกค้าแต่ละคนจะติดต่อ
พนักงานได้เพียงคนเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับลูกค้าจัดเป็นความสัมพันธ์แบบ
ข.หนึ่งต่อกลุ่ม

3.เอนทิตี AและเอนทิตีBมีความสัมพันธ์กันดังรูปแสดงว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใด
ง.m:m

4.เอนทิตี(Entity)หมายถึง
ก.ชื่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งจัดเก็บข้อมูลได้

5.ชนิดของความสัมพันธืต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ค.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง

6.โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วยหลายๆเอนทิตีที่มีความสัมพันธ์กัน เรียกว่า
ค.ฐานข้อมูล

7.ข้อใดไม่ใช่ ประโยชน์ของการ ประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล
ค.สามารถเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลายๆที่ได้

8.กรณีที่กำหนดว่านักเรียนแต่ละคน สามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา ในขณะที่รายวิชาแต่ละวิชา นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้หลายคน จงหาว่าความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิตีนักเรียนกับเอนทิตีรายวิชา เป็นความสัมพันธ์แบบใด
ก.แบบหนึ่งต่อหนึ่ง

9.ความสัมพันธ์ ที่กล่าวถึงไว้ในระบบฐานข้อมูล หมายถึง
ก.ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์

10.ข้อใดแสดงความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
ง.
11.ในระบบฐานข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็นกี่ระดับ
ข.3ระดับ

12.ระดับข้อมูลที่ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลของตนเอง จัดเป็นระดับใด
ค.ระดับภายนอก

13.ระดับของข้อมูลในระดับใดที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบรายละเอียด
ก.ระดับภายนอกและระดับแนวคิด

14.ระดับใดของข้อมูลที่เป็นการจัดเก็บข้อมูลจริง
ค.ระดับภายใน



15.กานมองเอนทิตี และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี จัดเป็นการมองในระดับใด
ก.ระดับปฏิบัติการ

16.ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการฐานข้อมูล คือข้อใด
ค.ระบบจัดการฐานข้อมูล

17.ระบบจัดการฐานข้อมูล(DBMS)มีหน้าที่อย่างไร
ง.ถูกทุกข้อ

18.คำสั่งที่ใช้สร้างรีเลชัน ก่อนการจัดเก็บข้อมูล คือคำสั่งใด
ค.CREATE TABLE

19.คำสั่งDELETEใช้สำหรับงานใด
ค.ลบข้อมูลได้ครั้งละ1ทูเพิล หรือ หลายๆทูเพิล

20.คำสั่งที่ใช้เพิ่มข้อมูลรายการใหม่เข้าไปในเลชันที่สร้างแล้ว คือคำสั่งใด
ก.INSERT

แบบฝึกหัดบทที่ 6

บทที่6
แบบประเมินผลการเรียนรู้
1.ที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลายๆระเบียน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เรียกว่า
ข.แฟ้มข้อมูล

2.ข้อใดไม่ใช้ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในแฟ้ม
ง.แฟ้มข้อมูลอดีต

3.แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้อย่างค่อนข้างถาวร และมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา คือ
ง.แฟ้มหลัก

4.แฟ้มข้อมูลใดที่เก็บรายการเปลี่ยนแปล เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักต่อไป
ข.แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง

5.แฟ้มชนิดใดใช้เก็บผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการของแฟ้มอื่นๆ
ก.แฟ้มควบคุม

6.ข้อใดเป็นชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ง.ถูกทุกข้อ

7.แฟ้มหลักสามารถจัดเป็นแฟ้มชนิดใดได้
ง.แฟ้มข้อมูลอดีต

8.การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลในระดับเบื้องต้นสามารถแบ่งได้เป็น
ก.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับและแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

9.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่จัดเก็บระเบียนต่างๆ เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
ก.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

10.การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ สามารถจัดเก็บในสื่อบันทึกแบบใด
ง.ถูกทุกข้อ

11.การจัดเก็บระเบียนข้อมูลเรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ค.Order File

12.การจัดเก็บระเบียนข้อมูลแบบไม่เรียงตามลำดับคีย์หลักแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ก.Pile

13.ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
ค.เปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูลในสื่อบันทึก

14.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่มีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่เก็บข้อมูลกับเขตข้อมูลที่เป็นเขตหลัก
ค.แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

15.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง
ข.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

16.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่ทุกระเบียนมีขนาดเท่ากัน
ก.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

17.ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ข.ไม่เหมาะจะปรับปรุงข้อมูลบ่อยๆ

18.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สมารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม
ง.ถูกทุกข้อ ข. และ ค.

19.แบบลำดับดรรชนีวิธีใด ที่มีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนที่ใช้เก็บดรรชนี และส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล
ก.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

20.ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area มีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนใดบ้าง
ก.ส่วนเก็บข้อมูลหลัก

21.ส่วนเก็บดรรชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area ข้อใดไม่ใช้การแบ่งระดับดรรชนี
ค.Cylinder Index

22.ส่วนเก็บดัชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับที่สร้างด้วยวิธีIndex and Data Blocksมีโครงสร้างเป็นแบบใด
ข.แบบเครือข่าย

23.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถมีคีย์หลักได้หลายตัว
ค.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี

24.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างความสัมพันธ์ของระเบียบกับค่าของคีย์หลัก
ข.การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Multi-List

25.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างคีย์รองกับคีย์หลัก
ข.การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Multi-List

26.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดทีมีการใช้ Linked list ช่วยในการค้นหาข้อมูล
ข.การจัดระเบียบแฟ้มแบบหลายคีย์

27.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่ใช้การเชื่อมดยงค่าของคีย์รองเข้าด้วยกัน
ข.การจัดระเบียบแฟ้มแบบMulti-List

28. ข้อใดเป็นวิธีการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ข.การประมวลผลแบบแบทช์

29.On-Line processing เป็นการประมวลผลแบบใด
ข.แบบโต้ตอบ

30.การประมวลผลแบบใดที่มีการปรับปรุงข้อมูลทันทีที่เกอดรายการ
ข.การประมวลผลแบบOn-Line

แบบฝึกหัดบทที่ 5

บทที่5
แบบประเมินผลการเรียนรู้
1.คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานใด
ก.เลขฐานสอง

2.ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย
ข.0 ถึง 9

3.ตัวเลขในระบบเลขฐานแปด ประกอบด้วย
ค.0 ถึง 7

4.ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ ประกอบด้วย
ข.0 ถึง 9

5.ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย
ก.0 ถึง F

6.(111)2 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ง. 111

7. 12 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสอง
ข.(0110)2

8.ตัวเลขในข้อใดไม่ถูกต้อง
ค.(248)8

9.ค่า (132)6 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ก.90

10. 797 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานแปด
ค.(1435)8

11. (13 A)16 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ง.314

12. 331 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบหก
ข.(14B)16

13.รหัสแทนข้อมูลชนิดแรกที่เกิดขึ้น คือรหัสใด
ข.BCD

14.รหัสมาตรฐานที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหัสใด
ก.ASCII

15.รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง IBM ระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไป คือรหัสใด
ค.EBCDIC

งานแบบฝึกหัดบทที่ 4

บทที่4
แบบประเมินผลการเรียนรู้
1.การจัดการกับข้อมูลที่รับเข้ามาด้วยวิธีการต่างๆเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เรียกว่า
ค.การประมวลผลข้อมูล

2.ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
ก.สารสนเทศ

3.ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
ง.ข้อ ก.และ ค.ประกอบกัน

4.การรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำผ่านทางใด
ค.หน่วยรับข้อมูล

5.ข้อใดต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการประมวลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ข.รับข้อมูล ประมวลผล แสดงผล

6.ข้อใดไม่ใช้ประเภทของการประมวลผลข้อมูล
ข.การประมวลด้วยเครื่องคิดเลข

7.การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย และมีขั้นตอนการประมวลผลไม่ซับซ้อน
ค.การประมวลผลด้วยมือ

8.การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่ต้องใช้ทั้งแรงงานคนและเครื่องจักรผสมกัน
ค.การประมวลผลด้วยมือ

9.การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลมากๆต้องการความรวดเร็วและมีขั้นตอนการประมวลผลที่ซับซ้อน
ก.การประมวลด้วยคอมพิวเตอร์

10.EDP เป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีใด
ก.การประมวลด้วยคอมพิวเตอร์
11.ข้อมูลใดจัดเป็นกรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูล
ง.ถูกทุกข้อ

12. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ข.การบันทึกข้อมูล

13.ขั้นตอนการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บลงในแฟ้มข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลข้อมูล
ค.การจัดเก็บข้อมูล

14.กรณีที่แฟ้มข้อมูลจริงเสียหายก็จะนำข้อมูลที่สำรองไว้มาติดตั้งลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานแทน เราเรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ง.การกู้ข้อมูล

15.การสื่อสารข้อมูลสามารถทำได้โดยวิธีใด
ง.ถูกทุกข้อ

วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ส่งงานบทที่ 3

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3
ส่วนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมมาได้ เรียกว่า
ตอบ ก. ข้อมูล

2. ข้อมูลใด เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้
ตอบ ง. น้ำหนัก

3. ข้อมูลใด จัดเป็นข้อมูลตัวอักษร
ตอบ ข. เลขประจำตัว

4. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เรียกว่า
ตอบ ข. สารสนเทศ

5. หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ
ตอบ ค. บิต

6. รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์แทนด้วยเลขฐานใด
ตอบ ค. เลขฐานสอง

7. ตัวอักษร 1 ตัว ในระบบคอมพิวเตอร์ เรียกว่า
ตอบ ก. เขตข้อมูล

8. หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป เรียกว่า
ตอบ ข. ไบต์

9. การำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่า
ตอบ ง. ระเบียน

10. การนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เรียกว่า
ตอบ ข. แฟ้มข้อมูล


11. การนำแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน จะเกิดเป็น
ตอบ ก. ฐานข้อมูล

12. การแบ่งประเภทข้อมูล โดยพิจารณาจากองค์กร จะแบ่งได้เป็น
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

13. การแบ่งประเภทข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งาน จะแบ่งได้เป็น
ตอบ ก. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และใช้ในการบริหาร

14. ลักษณะข้อมูลที่ดี ประกอบด้วย
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

15. ปัญหาที่สำคัญที่ทำให้เกิดความต้องการใช้ฐานข้อมูล (Database)
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ